บทความอนุทิน ครั้งที่ 8 วันที่ 9/08/56
กิจกรรมระหว่างเรียน
ทำหนังสือนิทานร่วมกันทั้งห้อง โดยแบ่งกลุ่ม 4-5 คน โดยตั้งชื่อว่า "ลูกหมูแสนซน"
โดยกิจกรรมนี้จะทำให้เด็กมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน ฝึกกล้ามเนื้อมือจากการระบายสี ฝึกภาษาจากการพูดคุยกับเพื่อน ฝึกสมาธิ ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์
คือ กิจกรรมที่สามารถพัฒนาเด็กได้โดยองค์รวม
วันศุกร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556
บันทึกอนุทินครั้งที่ 7 วันที่ 26/07/56
การประเมิน
1.
ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
2.
เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
3.
ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
4.
ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง
5.
ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
6.
ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล
ตัวอย่าง
กิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา
-
การเขียนตามคำบอก
-
ช่วยเด็กเขียนบันทึก
-
อ่านนิทานร่วมกัน
-
เขียนประกาศเพื่อแจ้งข่าว เตือนความจำ
-
อ่านคำคล้องจ้อง
-
ร้องเพลง
-
เล่าสู่กันฟัง
-
เขียนส่งสารถึงกัน
บรรทึกอนุทินครั้งที่ 6 วันที่ 19/07/56
การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
1.เน้นทักษะทางภาษา
การให้เด็กรู้จักส่วนย่อยของภาษา เช่น การประสมคำ ความหมายของคำ เป็นต้น
Kenneth Goodman
ได้เสนอแนวทางการสอนแบบธรรมชาติ ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างภาษากับชีวิต
ธรรมชาติของเด็กประถมวัย
มีความสนใจ อยากรู้อยากเห็น มีความคิดสร้างสรรค์ และชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เป็นต้น
2.การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Lenguage.)
การสอนแบบภาษาธรรมชาติ คือ การสอนโดยทำให้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวกลายมาเป็นความรู้ โดยสอนคล้องกับการใช้ชีวิต โดยไม่คาดหวังว่าเด็กทุกคนจะต้องมีการเรียนรู้เหมือนกัน
การสอน
เริ่มจากการจัดกิจกรมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน มีการตอบคำถาม เพื่อให้เด็กได้ตั้งใจฟัง แล้วสนใจในสิ่งที่ครูนำเสนอ
การอ่านจะต้องมีผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
โดยครั้งแรกครูควรอ่านเพื่อให้เด็กเข้าใจถึงเนื้อหา แต่ถ้ามีหนังสือให้เด็กได้ดูจะทำให้เด็กเข้าใจถึงประโยคนั้น
การยอมรับถึงคำพูด ความคิดการเขียนของเด็ก โดยไม่มีการดุด่า เพื่อให้เด็กไม่เกิดการกลัวที่จะเขียน หรือคิดในสิ่งที่ตัวเองอยากเขียน และคิด
การเขียน
เด็กจะต้องมีส่วนร่วมในการเขียน เช่น ครูเขียนตามคำบอกของนักเรียน เป็นต้น
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนแบบธรรมชาติ
เด็กจะมีการเรียนรู้จากประสบการณ์ การลงมือทำ จากกิจกรรมการเคลื่อนไหว และสังคม
การสอนภาษาธรรมชาติ
คือ การสอนโดยใช้สิ่งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวเด็ก ที่เด็กสนใจ และการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนไปพร้อมกับการทำกิจกรรม โดยไม่มีการบังคับ
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
นฤมน เนียนหอม (2540)
1.การจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
3.การเป็นแบบอย่าง
4.การตั้งความหวัง
5.การค่ดคะเน
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7.การยอบรับนับถือ
8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
ผู้ที่ถ่ายทอดความรู้-->ผู้อำนวยความสะดวก-->ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับเด็ก
บทบาทครู
ครูไม่ควรคาดหวังกับเด็ก ควรยอมรับ และสร้างความเชื่อมั่น และสนับสนุน การอ่าน การเขียน ให้กับเด็ก
การจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
1.เน้นทักษะทางภาษา
การให้เด็กรู้จักส่วนย่อยของภาษา เช่น การประสมคำ ความหมายของคำ เป็นต้น
Kenneth Goodman
ได้เสนอแนวทางการสอนแบบธรรมชาติ ซึ่งเชื่อมโยงระหว่างภาษากับชีวิต
ธรรมชาติของเด็กประถมวัย
มีความสนใจ อยากรู้อยากเห็น มีความคิดสร้างสรรค์ และชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เป็นต้น
2.การสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Lenguage.)
การสอนแบบภาษาธรรมชาติ คือ การสอนโดยทำให้สิ่งต่าง ๆ รอบตัวกลายมาเป็นความรู้ โดยสอนคล้องกับการใช้ชีวิต โดยไม่คาดหวังว่าเด็กทุกคนจะต้องมีการเรียนรู้เหมือนกัน
การสอน
เริ่มจากการจัดกิจกรมต่าง ๆ ภายในโรงเรียน มีการตอบคำถาม เพื่อให้เด็กได้ตั้งใจฟัง แล้วสนใจในสิ่งที่ครูนำเสนอ
การอ่านจะต้องมีผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
โดยครั้งแรกครูควรอ่านเพื่อให้เด็กเข้าใจถึงเนื้อหา แต่ถ้ามีหนังสือให้เด็กได้ดูจะทำให้เด็กเข้าใจถึงประโยคนั้น
การยอมรับถึงคำพูด ความคิดการเขียนของเด็ก โดยไม่มีการดุด่า เพื่อให้เด็กไม่เกิดการกลัวที่จะเขียน หรือคิดในสิ่งที่ตัวเองอยากเขียน และคิด
การเขียน
เด็กจะต้องมีส่วนร่วมในการเขียน เช่น ครูเขียนตามคำบอกของนักเรียน เป็นต้น
ทฤษฎีที่มีอิทธิพลต่อการสอนแบบธรรมชาติ
เด็กจะมีการเรียนรู้จากประสบการณ์ การลงมือทำ จากกิจกรรมการเคลื่อนไหว และสังคม
การสอนภาษาธรรมชาติ
คือ การสอนโดยใช้สิ่งต่าง ๆ ที่อยูรอบตัวเด็ก ที่เด็กสนใจ และการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนไปพร้อมกับการทำกิจกรรม โดยไม่มีการบังคับ
หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
นฤมน เนียนหอม (2540)
1.การจัดสภาพแวดล้อม
2.การสื่อสารที่มีความหมาย
3.การเป็นแบบอย่าง
4.การตั้งความหวัง
5.การค่ดคะเน
6.การใช้ข้อมูลย้อนกลับ
7.การยอบรับนับถือ
8.การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น
ผู้ที่ถ่ายทอดความรู้-->ผู้อำนวยความสะดวก-->ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับเด็ก
บทบาทครู
ครูไม่ควรคาดหวังกับเด็ก ควรยอมรับ และสร้างความเชื่อมั่น และสนับสนุน การอ่าน การเขียน ให้กับเด็ก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)